ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง
การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ
ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ
ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลกอ่านเพิ่มเติม...
วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์
และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ
สิทธิเหล่านี้ อ่านเพิ่มเติม...
กฏหมาย
กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม
ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง
เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์อ่านเพิ่มเติม...
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
หมายถึงระบอบการปกครองที่อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งแยกอำนาจ และหลักการที่ว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมายอ่านเพิ่มเติม...
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง
รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต
ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน
และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน อ่านเพิ่มเติม...
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนอ่านเพิ่มเติม ...
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนอ่านเพิ่มเติม ...
วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558
สังคม
โครงสร้างสังคม หมายถึง
ระบบของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่าง
กันตามระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่จะทำให้สังคมเป็นระเบียบ
ลักษณะสำคัญของโครงสร้างสังคมมนุษย์
1. มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่งที่มีการติดต่อสัมพันธ์กัน
2. การติดต่อสัมพันธ์กันเป็นไปอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์
3. มีวัตถุประสงค์ในการติดต่อสัมพันธ์กัน
4. มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้เสมอ
โครงสร้างสังคมประกอบด้วย
1. กลุ่มสังคม
2. สถาบันทางสังคม
3. สถานภาพและบทบาทในสังคม
4. บรรทัดฐานทางสังคม
ประเภทของกลุ่มคน
ลักษณะสำคัญของโครงสร้างสังคมมนุษย์
1. มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่งที่มีการติดต่อสัมพันธ์กัน
2. การติดต่อสัมพันธ์กันเป็นไปอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์
3. มีวัตถุประสงค์ในการติดต่อสัมพันธ์กัน
4. มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้เสมอ
โครงสร้างสังคมประกอบด้วย
1. กลุ่มสังคม
2. สถาบันทางสังคม
3. สถานภาพและบทบาทในสังคม
4. บรรทัดฐานทางสังคม
ประเภทของกลุ่มคน
กลุ่มปฐมภูมิ คือ
กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์แบบใกล้ชิดสนิทสนมเป็นส่วนตัว มีสมาชิกน้อย
ไม่มีพิธีรีตรอง เช่น ครอบครัว
กลุ่มทุติยภูมิ คือ
กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์เป็นแบบทางการเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ มีสมาชิกกลุ่มจำนวน
มาก เช่น สังคมเมือง โรงเรียน เป็นต้น
สถาบันสังคม
สถาบันสังคม หมายถึง กระบวนการที่มนุษย์ได้จัดตั้งขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผน ทำหน้าที่สนองความ ต้องการที่จำเป็น
องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม
สถาบันสังคม หมายถึง กระบวนการที่มนุษย์ได้จัดตั้งขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผน ทำหน้าที่สนองความ ต้องการที่จำเป็น
องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม
ตำแหน่งทางสังคม หมายถึง
ตำแหน่งของบุคคลในสถาบันหนึ่ง ๆ เช่น พ่อ แม่ พ่อค้า เป็นต้น
หน้าที่ หมายถึง
ภาระผูกพันที่สถาบันจะต้องกระทำการบางอย่างเพื่อตอบสนองความต้องการที่จำเป็นของสังคม
แบบแผนการปฏิบัติ หมายถึง
แบบแผนในการคิดและการกระทำของสมาชิกในสังคม แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ได้แก่
1. บรรทัดฐานทางสังคม เช่น กฎ ระเบียบ
2. ค่านิยม คือ สิ่งที่มีค่าควรแก่การกระทำ
3. ความเชื่อ คือ แบบของความคิดเกี่ยวกับตัวเราที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
4. สัญลักษณ์ คือ การกระทำหรือตัวแทนที่เป็นสื่อทำให้เกิดความเข้าใจ
ประเภทของสถาบันสังคม
1. สถาบันครอบครัว
หมายถึง กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนหรือมากกว่านั้น ซึ่งเกี่ยวข้องกันทางสายโลหิต
หน้าที่ของสถาบันครอบครัว
1. ผลิตสมาชิกใหม่ให้แก่สังคม
2. เลี้ยงดูสมาชิกให้เจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
3. อบรมสั่งสอนศีลธรรมจรรยาเพื่อดำรงอยู่ในสังคมได้
4. ให้ความรัก ความอบอุ่น สนองความต้องการทางจิตใจ
2. สถาบันการศึกษา
เป็นสถาบันที่ถ่ายทอดความรู้ ความคิดให้แก่สมาชิกในสังคม เพื่อให้เกิดความรู้ ความสามารถ สามารถทำ ประโยชน์ให้กับสังคมนั้นได้ หน้าที่ของสถาบันการศึกษา
1. ถ่ายทอดความรู้ ระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมให้กับเยาวชนของสังคม
2. ผลิตแรงงานที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพให้สังคม
3. สร้างบุคลิกภาพทางสังคมให้แก่สมาชิก
4. ส่งเสริมให้รู้จักพัฒนาตนเองและสังคมนั้น
3. สถาบันศาสนา
เป็นสถาบันที่กำหนดแนวทางความประพฤติของคนในสังคม
หน้าที่ของสถาบันทางศาสนา
1. ช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสังคม
2. ช่วยสร้างความมั่นคงทางจิตใจให้สมาชิกในสังคม
3. ช่วยควบคุมสังคมให้สงบสุข
4. สร้างความผูกพันระหว่างคนในชาติ
5. ช่วยอบรมศีลธรรมจริยธรรมให้แก่สมาชิก
4. สถาบันการปกครอง
หมายถึง สถาบันที่ทำหน้าที่ดูแลบริหารบ้านเมืองทางด้านความมั่นคง ความปลอดภัยและความสงบสุขของ สังคม
หน้าที่ของสถาบันการปกครอง
1. สร้างกฎระเบียบต่าง ๆ ในสังคม
2. แก้ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม
3. บริการและสวัสดิการต่าง ๆ ให้สมาชิกในสังคม
1. บรรทัดฐานทางสังคม เช่น กฎ ระเบียบ
2. ค่านิยม คือ สิ่งที่มีค่าควรแก่การกระทำ
3. ความเชื่อ คือ แบบของความคิดเกี่ยวกับตัวเราที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
4. สัญลักษณ์ คือ การกระทำหรือตัวแทนที่เป็นสื่อทำให้เกิดความเข้าใจ
ประเภทของสถาบันสังคม
1. สถาบันครอบครัว
หมายถึง กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนหรือมากกว่านั้น ซึ่งเกี่ยวข้องกันทางสายโลหิต
หน้าที่ของสถาบันครอบครัว
1. ผลิตสมาชิกใหม่ให้แก่สังคม
2. เลี้ยงดูสมาชิกให้เจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
3. อบรมสั่งสอนศีลธรรมจรรยาเพื่อดำรงอยู่ในสังคมได้
4. ให้ความรัก ความอบอุ่น สนองความต้องการทางจิตใจ
2. สถาบันการศึกษา
เป็นสถาบันที่ถ่ายทอดความรู้ ความคิดให้แก่สมาชิกในสังคม เพื่อให้เกิดความรู้ ความสามารถ สามารถทำ ประโยชน์ให้กับสังคมนั้นได้ หน้าที่ของสถาบันการศึกษา
1. ถ่ายทอดความรู้ ระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมให้กับเยาวชนของสังคม
2. ผลิตแรงงานที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพให้สังคม
3. สร้างบุคลิกภาพทางสังคมให้แก่สมาชิก
4. ส่งเสริมให้รู้จักพัฒนาตนเองและสังคมนั้น
3. สถาบันศาสนา
เป็นสถาบันที่กำหนดแนวทางความประพฤติของคนในสังคม
หน้าที่ของสถาบันทางศาสนา
1. ช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสังคม
2. ช่วยสร้างความมั่นคงทางจิตใจให้สมาชิกในสังคม
3. ช่วยควบคุมสังคมให้สงบสุข
4. สร้างความผูกพันระหว่างคนในชาติ
5. ช่วยอบรมศีลธรรมจริยธรรมให้แก่สมาชิก
4. สถาบันการปกครอง
หมายถึง สถาบันที่ทำหน้าที่ดูแลบริหารบ้านเมืองทางด้านความมั่นคง ความปลอดภัยและความสงบสุขของ สังคม
หน้าที่ของสถาบันการปกครอง
1. สร้างกฎระเบียบต่าง ๆ ในสังคม
2. แก้ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม
3. บริการและสวัสดิการต่าง ๆ ให้สมาชิกในสังคม
5. สถาบันเศรษฐกิจ
เป็นสถาบันที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต การบริโภคและการบริการสินค้า เพื่อให้สมาชิกสามารถดำรง ชีพอยู่ได้
หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ
1. กระจายสินค้าและบริการไปสู่สมาชิกในสังคม
2. สร้างอาชีพและรายได้ให้ประชาชน
3. ผลิตสินค้าและบริการรวมทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคต่าง ๆ
4. สร้างมาตรฐานการครองชีพและพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญก้าวหน้า
6. สถาบันนันทนาการ
เป็นสถาบันที่เกี่ยวกับการพักผ่อนหย่อนใจในชีวิตประจำวัน เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด
หน้าที่ของสถาบันนันทนาการ
1. ช่วยให้สมาชิกมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น
2. เสริมสร้างความสามัคคี
3. ปลูกฝังความมีระเบียบวินัยแก่สมาชิก
4. สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5. ฝึกทักษะความชำนาญในด้านต่าง ๆ
7. สถาบันสื่อสารมวลชน
เป็นสถาบันที่ให้ความรู้ ความคิด ข่าวสาร ข้อมูล แก่ประชาชน
หน้าที่ของสถาบันสื่อสารมวลชน
1. ให้ความรู้ และความบันเทิงแก่สมาชิก
2. ให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น
3. เป็นแหล่งถ่ายทอดวัฒนธรรมและปลูกฝังค่านิยมต่าง ๆ
4. เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างสมาชิกของสังคม
เป็นสถาบันที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต การบริโภคและการบริการสินค้า เพื่อให้สมาชิกสามารถดำรง ชีพอยู่ได้
หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ
1. กระจายสินค้าและบริการไปสู่สมาชิกในสังคม
2. สร้างอาชีพและรายได้ให้ประชาชน
3. ผลิตสินค้าและบริการรวมทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคต่าง ๆ
4. สร้างมาตรฐานการครองชีพและพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญก้าวหน้า
6. สถาบันนันทนาการ
เป็นสถาบันที่เกี่ยวกับการพักผ่อนหย่อนใจในชีวิตประจำวัน เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด
หน้าที่ของสถาบันนันทนาการ
1. ช่วยให้สมาชิกมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น
2. เสริมสร้างความสามัคคี
3. ปลูกฝังความมีระเบียบวินัยแก่สมาชิก
4. สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5. ฝึกทักษะความชำนาญในด้านต่าง ๆ
7. สถาบันสื่อสารมวลชน
เป็นสถาบันที่ให้ความรู้ ความคิด ข่าวสาร ข้อมูล แก่ประชาชน
หน้าที่ของสถาบันสื่อสารมวลชน
1. ให้ความรู้ และความบันเทิงแก่สมาชิก
2. ให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น
3. เป็นแหล่งถ่ายทอดวัฒนธรรมและปลูกฝังค่านิยมต่าง ๆ
4. เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างสมาชิกของสังคม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)